และในการเติมแต่ละครั้งจะทำให้คำที่ถูกเติมนั้นเปลียนชนิดคำตาม Imbuhan ที่เติ่มไป เช่น tulis [kk]---penulis[kn] เป็นต้น
Tata Bahasa Melayu (ไวยกรณ์ภาษามลายู)
Blog ini sebagai simpanan saya setelah mana sudah saya mempelajari dalam kelas, agar berfaedah kepada teman-teman yaa
Assalamualaikum
Mr.MUHAMMAD SASU
วันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2558
Imbuhan
ทำความเข้าใจกับ Imbuhan ก่อนเดส Imbuhan คือหน่วยคำที่ไม่อิสระ ไม่สามารถให้ความหมายได้หากมันอยู่โดดๆ มันไม่ใช้หน่อยคำที่มารอการเพิ่ม แต่มันเป็นหน่อยคำที่ไปเพิ่มเติมให้คำนั้นสมบูรณ์
วันพุธที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2558
AYAT DASAR
AYAT DASAR (ประโยคพืนฐาน) คือประโยคพืนฐานในภาษามลายู ทุกประโยคในภาษามลายูจะมีรูปประโยคทั้งหมด 4 รูปเท่านั้น คือ
FN(frasa nama)
FK(frasa kerja)
FS(frasa sendi nama)
FA(frasa adjetif)
และมีโครงสร้างตามลักษณะของประโยคนั้นๆ เช่น Ayat Aktif มีโครงสร้างดังนี้ s+p+ob.
Ayat dasar จะแบ่งได้ตามการจำแนกดั่งนี้
1.1 -ayat berita คือประโยคบอกเล่า เป็นประโยคที่พยายามอธิบายเรืองบางเรือง เช่น dia wartawan
โดยมีโครงสร้างตามลักษณะอาจเป็น aktif หรือ fasif
1.2-ayat tanya คือประโยคที่ใช้ถามบางสิ่งบางอย่าง โครงสร้างประโยคที่ 2 รูป
1- ayat tanya tanpa kata tanya; adik masih menangis ?
2- ayat tanya dengan unsur tanya; siapa gurunya?
kata tanya seperti; siapa ,apa, di mana,bagai mana,betapa,kenapa,bila dll
1.3-ayat perintah คือประโยคที่ใช้สั่งให้กระทำอะไรสักอย่างซึ่งลักษณะการสั่งนั้นสามารถแบ่งได้เป็น 4 ลักษณะ คือ
1-ayat suruhan; ใช้เพือสั่งให้ทำณ.ตอนนั้นเลย ส่วนใหญ่จะใช้LAH ตามหลังคำกิริยาเพือ ให้คำสั่งนั้นดูนุ่มนวมเช่น Bukalah pintu itu, makanlah ubat ini dahulu
*kata kerja ที่สามารถทำ ayat suruhan ได้คือ kata kerja transitif และ kata kerja x transitif แต่
kk t ต้องตัดimbuhan ออก เช่น จาก kamu membaca buku itu เป็น baca/lah buku itu
kt tt เช่น kamu pergi ke bilik itu เป็น pergi ke bilik itu .
kk tt บางคำยกเว้นหากไม่มี imbuhan ไม่ได้เช่น
menangislah sepuas-puas hati
menjeritlah sedayamu
menarilah bersama-sama
menyanyilah lagu ini
berdermalah kepada anak yatim
berangkatlah dengan segera
2- ayat larangan สังห้าม จะใช้ jangan อยู่หน้าคำกิริยาเช่น
jangan curi harta orang
jangan biar mereka pukul
3- ayat silaan ปรโยคใช้เชิญ จะใช้ sila, jemput,ayuh,jom dll
เช่น sila masuk , jemput singah di rumah saya
*ข้อแตกต่าง jemput(อาจกระทำในภายหลังจากเชิญ)sila(ทำตอนนั้นเลย)
4- ayat permintaan ประโยคข้อร้อง จะใช้คำ minta, tolong อยู่หน้าคำกิริยาเช่น
tolong tutup pintu depan itu
minta tuan benarka kami masuk
ข้อแตกต่างการใช้ให้ถูกต้อง tolong(หลังคำจะต่อด้วยkkเลย)
minta(จะต่อด้วยคำนามก่อน) ดั่งตัวอย่างขั้นต้น
1.4-ayat seruan คือประโคยกล่าวแทนความรู้สึก กลัว โกรด เจ็บ ตกใจ อืนๆ kata seruan มีดั่งนี้
aduh เจ็บและแปลกใจ
cih/cis เยาะเยือย ไม่ชอบ โกรด
eh แปลกใจ ตกใจ
hai ดึงความสนใจ ตักเตือนใครสังคน
nah ดึงความสนใจ ให้บางสิ่งกับบางคน เดอๆๆๆ
oh แปลกใจ หนอยใจ
wah ประทับใจ
amboi แปลกใจ ประทับใจ
ah ไม่พอใจ ปฏิเสท
wahai เสียใจ ดึงความสนใจ
saya pergi ke bangkok
2.2- ayat pasif คือประโยคที่ต้องการเน้นกรรมเป็นหลัก ซึ่งมี 2ลักษณะ
2.2.1- pasif semu ใช้กับสรรพนามบุรุษที 1,2 ex; ikan itu saya/awak beli
2.2.2- pasif jati ใช้กับสรรพนามบุรุษที 3 ex ikan itu dibeli olehnya
susunannya :
pasif semu ; ob+ganti diri 1,2 + kkt
pasif jati ; ob+di(kkt)+ oleh(ganti diri 3)
*ayat pasif จะใช้กับ kata kerja transitif เท่านั้น เพราะเป็นกิริยาที่มีกรรม
3.2 - ayat majmuk คือประโยคทีมีประธานหรือส่วนขยาย 2 ขึ้นไป(ประโยคที่มีสองประโยคใน ประโยคเดียว)เช่น
ayat majmuk แบ่งลักษณะเป็น 3 ลักษณะดั่งนี้
3.2.1- ayat majmuk gabungan คำเชือมได้แก่ dan, atau,tetapi, serta, lalu,sambil dll
ex ; adik saya sedang menyanyi dan menari
3.2.2 - ayat majmuk pancangan คำเชือมได้แก่ yang, bahawa dll
ex ; pemuda yang tampan itu anak Romli
3.2.3- ayat majmuk campuran เป็นการผสมผสานคำเชือมของ gabungan dan pancangan
ex ; budak itu masih berdiri di situ walaupun telah lama dimarahi dan
dipukul oleh ibunya
FN(frasa nama)
FK(frasa kerja)
FS(frasa sendi nama)
FA(frasa adjetif)
และมีโครงสร้างตามลักษณะของประโยคนั้นๆ เช่น Ayat Aktif มีโครงสร้างดังนี้ s+p+ob.
Ayat dasar จะแบ่งได้ตามการจำแนกดั่งนี้
1- แบ่งตามลักษณะเป้าหมายของประโยค(tujuan)
1.1 -ayat berita คือประโยคบอกเล่า เป็นประโยคที่พยายามอธิบายเรืองบางเรือง เช่น dia wartawan
โดยมีโครงสร้างตามลักษณะอาจเป็น aktif หรือ fasif
1.2-ayat tanya คือประโยคที่ใช้ถามบางสิ่งบางอย่าง โครงสร้างประโยคที่ 2 รูป
1- ayat tanya tanpa kata tanya; adik masih menangis ?
2- ayat tanya dengan unsur tanya; siapa gurunya?
kata tanya seperti; siapa ,apa, di mana,bagai mana,betapa,kenapa,bila dll
1.3-ayat perintah คือประโยคที่ใช้สั่งให้กระทำอะไรสักอย่างซึ่งลักษณะการสั่งนั้นสามารถแบ่งได้เป็น 4 ลักษณะ คือ
1-ayat suruhan; ใช้เพือสั่งให้ทำณ.ตอนนั้นเลย ส่วนใหญ่จะใช้LAH ตามหลังคำกิริยาเพือ ให้คำสั่งนั้นดูนุ่มนวมเช่น Bukalah pintu itu, makanlah ubat ini dahulu
*kata kerja ที่สามารถทำ ayat suruhan ได้คือ kata kerja transitif และ kata kerja x transitif แต่
kk t ต้องตัดimbuhan ออก เช่น จาก kamu membaca buku itu เป็น baca/lah buku itu
kt tt เช่น kamu pergi ke bilik itu เป็น pergi ke bilik itu .
kk tt บางคำยกเว้นหากไม่มี imbuhan ไม่ได้เช่น
menangislah sepuas-puas hati
menjeritlah sedayamu
menarilah bersama-sama
menyanyilah lagu ini
berdermalah kepada anak yatim
berangkatlah dengan segera
2- ayat larangan สังห้าม จะใช้ jangan อยู่หน้าคำกิริยาเช่น
jangan curi harta orang
jangan biar mereka pukul
3- ayat silaan ปรโยคใช้เชิญ จะใช้ sila, jemput,ayuh,jom dll
เช่น sila masuk , jemput singah di rumah saya
*ข้อแตกต่าง jemput(อาจกระทำในภายหลังจากเชิญ)sila(ทำตอนนั้นเลย)
4- ayat permintaan ประโยคข้อร้อง จะใช้คำ minta, tolong อยู่หน้าคำกิริยาเช่น
tolong tutup pintu depan itu
minta tuan benarka kami masuk
ข้อแตกต่างการใช้ให้ถูกต้อง tolong(หลังคำจะต่อด้วยkkเลย)
minta(จะต่อด้วยคำนามก่อน) ดั่งตัวอย่างขั้นต้น
1.4-ayat seruan คือประโคยกล่าวแทนความรู้สึก กลัว โกรด เจ็บ ตกใจ อืนๆ kata seruan มีดั่งนี้
aduh เจ็บและแปลกใจ
cih/cis เยาะเยือย ไม่ชอบ โกรด
eh แปลกใจ ตกใจ
hai ดึงความสนใจ ตักเตือนใครสังคน
nah ดึงความสนใจ ให้บางสิ่งกับบางคน เดอๆๆๆ
oh แปลกใจ หนอยใจ
wah ประทับใจ
amboi แปลกใจ ประทับใจ
ah ไม่พอใจ ปฏิเสท
wahai เสียใจ ดึงความสนใจ
2-แบ่งตามลักษณะโครงสร้างการประกอบประโยค(susunan)
2.1- ayat aktif คือประโยคทั่วไปที่มีโครงสร้างปกติ S+P+O (เน้นประธาน)
saya membeli ikansaya pergi ke bangkok
2.2- ayat pasif คือประโยคที่ต้องการเน้นกรรมเป็นหลัก ซึ่งมี 2ลักษณะ
2.2.1- pasif semu ใช้กับสรรพนามบุรุษที 1,2 ex; ikan itu saya/awak beli
2.2.2- pasif jati ใช้กับสรรพนามบุรุษที 3 ex ikan itu dibeli olehnya
susunannya :
pasif semu ; ob+ganti diri 1,2 + kkt
pasif jati ; ob+di(kkt)+ oleh(ganti diri 3)
*ayat pasif จะใช้กับ kata kerja transitif เท่านั้น เพราะเป็นกิริยาที่มีกรรม
3- แบ่งตามลักษณะการสร้างประโยค(binaan)
3.1- ayat tunggal คือประโยคที่มี 1 S 1 P เช่น saya sedang belajar โครงสร้างประโยคนี้แบ่งออก เป็น 2 รูปแบบคือ
1.3.1 susunan biasa(s+p) ex ; dia sedang belajar
1.3.2 susunan songsang (p+s) ex; sedang belajar dia ! (บงบอกว่างงกับเหตุการณ์)
3.2 - ayat majmuk คือประโยคทีมีประธานหรือส่วนขยาย 2 ขึ้นไป(ประโยคที่มีสองประโยคใน ประโยคเดียว)เช่น
ex: Ali dan Romli sedang membaca
-Ali sedang membaca buku
-Romli sedang membaca buku
ayat majmuk แบ่งลักษณะเป็น 3 ลักษณะดั่งนี้
3.2.1- ayat majmuk gabungan คำเชือมได้แก่ dan, atau,tetapi, serta, lalu,sambil dll
ex ; adik saya sedang menyanyi dan menari
3.2.2 - ayat majmuk pancangan คำเชือมได้แก่ yang, bahawa dll
ex ; pemuda yang tampan itu anak Romli
3.2.3- ayat majmuk campuran เป็นการผสมผสานคำเชือมของ gabungan dan pancangan
ex ; budak itu masih berdiri di situ walaupun telah lama dimarahi dan
dipukul oleh ibunya
วันอาทิตย์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
KATA NAMA
KATA NAMA คำที่ใช้เรียกชือคน สัตว์สิ่งของถานที่และอืนๆ(คิดเองสิ)
ลักษณของ KATA NAMA (kn) สามารถจำแนกได้ 2 ลักษณะดั่งนี้
mata hari, kereta api, guru,bulan dll
สิ่งที่เป็นนามธรรม(abstrak)
keadilan, agama,roh,dosa,syurga,neraka dll
Muhammad, Si Comel, Patani, Thai, Melayu dll
สิ่งที่เป็นนามธรรม(abstrak)
Islam, Hindu, Isnin, Selasa, Mac dll
INI ใช้กับสิ่งที่อยู่ใกล้
ITU ใช้กับสิ่งที่อยู่ไกล(ใช้กับคนไม่ค่อยสุภาพนะจร้า ส่วนใหญใช้กับสัตว์สิ่งของ)
1.3.2- kata ganti nama diri ใช้เรียกแทนชือ
-ganti diri orang ใช้แทนชือคน
- diri pertama [บุรุษที่1] saya,aku,kami,kita,beta,patik
- diri kedua [บุรุษที่ 2] engkau, awak, anda,saudara/i
- diri ketiga[บุรุษที่ 3] ia, beliau,baginda,Muhammad dll
*เพิ่มเติม - imbuhan ที่ใช้กับกิริยาส่วนใหญ่จะใช้กับ kata kerja transitif
-ข้อแตกต่าง kata majmuk, rangkaian kata ดูการให้ความหมายตามตัวอย่างนี้
gajah putih ช้างเผือก (kata majmuk)
gajah putih ช้างสีขาว (rangkaian kata)
ลักษณของ KATA NAMA (kn) สามารถจำแนกได้ 2 ลักษณะดั่งนี้
1- แบ่งตามความหมาย
1.1- kata nama am คือคำนามทีใช้เรียกชือทั่วไปและคนในสังคมที่ใช้ภาษานั้นเข้าใจ
สิ่งที่เป็นรุปธรรม(konkrit)mata hari, kereta api, guru,bulan dll
สิ่งที่เป็นนามธรรม(abstrak)
keadilan, agama,roh,dosa,syurga,neraka dll
1.2- kata nama khas คือนามเฉพาะบุคคลหรือกลุ่ม
สิ่งที่เป็นรุปธรรม(konkrit)Muhammad, Si Comel, Patani, Thai, Melayu dll
สิ่งที่เป็นนามธรรม(abstrak)
Islam, Hindu, Isnin, Selasa, Mac dll
1.3- kata ganti nama คือคำนามที่ใช้เรียกแทนชือ ทั่วไปและเจาะจง
1.3.1- kata ganti nama tunjuk คือเรียกชือที่เป็นนามทั่วไปและเจาะจงINI ใช้กับสิ่งที่อยู่ใกล้
ITU ใช้กับสิ่งที่อยู่ไกล(ใช้กับคนไม่ค่อยสุภาพนะจร้า ส่วนใหญใช้กับสัตว์สิ่งของ)
1.3.2- kata ganti nama diri ใช้เรียกแทนชือ
-ganti diri orang ใช้แทนชือคน
- diri pertama [บุรุษที่1] saya,aku,kami,kita,beta,patik
- diri kedua [บุรุษที่ 2] engkau, awak, anda,saudara/i
- diri ketiga[บุรุษที่ 3] ia, beliau,baginda,Muhammad dll
2- แบ่งตามโครงสร้าง
2.1- kata nama tunggal คือคำที่ยังไม่ผ่านการเติม imbuhan [คำมาจาก1 หน่วยคำอิสระ]
เช่น mata, kereta, kaki dll
2.2- kata nama terbitan คือคำนามมกิริยาหรือคำadjetif ที่ผ่านการเพิ่ม imbuhan แล้ว
คำที่สามารถเติม imbuhan ได้มีดั่งนี้
2.2.1 - akar คือหน่อยคำไม่อิสระที่รอการเติมเพือให้มีความหมาย(รอเทอมาเติมเต็มเดอๆๆ)อยู่ โดดๆจะไม่มีความหมาย และใช้ในประโยคไม่ได้ เช่น
tapa--pertapaan สถานที่จำศีล
mudi--kemudi พวงมาลัย
2.2.2- kata tunggal คือคำที่ยังไม่ผ่านการเติม imbuhan
tulis>>penulis, penulisan
2.2.3- kata terbitan คือคำที่ผ่านการเติม imbuhan แล้ว
berkesan >> keberkesanan
2.2.4- kata majmuk คือคำสองคำมารวมกันแล้วให้ความหมายใหม่แต่โยงกับความหมายเดิม
เช่น susah payah >> kesusahpayahan ความยุงยาก
2.2.5- rangkaian kata คือคำสองคำมารวมกันแล้วให้ความหมายเดิม
เช่น tidak pasti >> ketidakpastian ความไม่แน่นอน
*เพิ่มเติม - imbuhan ที่ใช้กับกิริยาส่วนใหญ่จะใช้กับ kata kerja transitif
-ข้อแตกต่าง kata majmuk, rangkaian kata ดูการให้ความหมายตามตัวอย่างนี้
gajah putih ช้างเผือก (kata majmuk)
gajah putih ช้างสีขาว (rangkaian kata)
KATA KERJA[kk]
KATA KERJA คำที่ใช้เรียกการกระทำ อาการ
ซึ่งในแต่ละชนิดของกิริยาก็จะมีความต่างดั่งนี้
1- kata kerja transitif[kkt] กิริยาที่ต้องการกรรมมารองรับ
คำกิริยาชนิดนี้เวลาจะนำมาทำประโยคต้องใส imbuhan เพราะเป็นประโยคที่มี่กรรมและเน้นประธาน
เช่น saya membeli lembu
ประโยคของ kkt มี่ดั่งนี้
1.1-ayat aktif คือประโยคทั่วไปที่มีโครงสร้างปกติ S+P+O (เน้นประธาน)
saya membeli ikansaya pergi ke bangkok
1.2 ayat pasif คือประโยคที่ต้องการเน้นกรรมเป็นหลัก ซึ่งมี 2ลักษณะ
1- pasif semu ใช้กับสรรพนามบุรุษที 1,2 ex; ikan itu saya/awak beli
.2- pasif jati ใช้กับสรรพนามบุรุษที 3 ex ikan itu dibeli olehnya
susunannya :
pasif semu ; ob+ganti diri 1,2 + kkt
pasif jati ; ob+di(kkt)+ oleh(ganti diri 3)
2- kata kerja tak transitif [kktt] กิริยาที่ไม่ต้องการกรรม
kata kerja tak transitif คือคำกิริยาที่ไม่ต้องการกรรม มันสมบูรณ์ภายในตัวโดยไม่จำเป็นต้องมีกรรม มารองรับ แต่ต้องการส่วนอืน(อะไรอะ ฮาา) kktt บางคำต้องการและไม่ต้องการส่วนขยายดั่งนี้
2.1- kata kerja tak transitif berpelengkap(หากไม่มีส่วนขยายประโยคจะไม่สมบูรณฺ์)
ex. demamnya beransur baik อาการไม่สบายของเขาเริ่มดีขึ้น
beransur คือ kktt ส่วน baik คือส่วนขยายหากไม่มีประโยคนีไม่สมบูรณว่าอาการเขาเป็นไง
2.2- kata kerja tak transitif tenpa pelengkap(ไม่ต้องการส่วนขยาย)
ex dia tidur atas meja เขานอนบนโต๊ะ
tidur คือ kktt ซึงประโยคนี้ไม่จำเป็นต้องมี atas meja ก็ได้จัดว่าเข้าใจแล้ว แต่หากประโยคมาอย่างนี้เราก็จะได้รุ้ว่า kktt คำนี้ berpelengkap atau tanpa pelengkap แค่เนี๊ย ยากตรงไหน
*เพิ่มเติมเดส
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)