FN(frasa nama)
FK(frasa kerja)
FS(frasa sendi nama)
FA(frasa adjetif)
และมีโครงสร้างตามลักษณะของประโยคนั้นๆ เช่น Ayat Aktif มีโครงสร้างดังนี้ s+p+ob.
Ayat dasar จะแบ่งได้ตามการจำแนกดั่งนี้
1- แบ่งตามลักษณะเป้าหมายของประโยค(tujuan)
1.1 -ayat berita คือประโยคบอกเล่า เป็นประโยคที่พยายามอธิบายเรืองบางเรือง เช่น dia wartawan
โดยมีโครงสร้างตามลักษณะอาจเป็น aktif หรือ fasif
1.2-ayat tanya คือประโยคที่ใช้ถามบางสิ่งบางอย่าง โครงสร้างประโยคที่ 2 รูป
1- ayat tanya tanpa kata tanya; adik masih menangis ?
2- ayat tanya dengan unsur tanya; siapa gurunya?
kata tanya seperti; siapa ,apa, di mana,bagai mana,betapa,kenapa,bila dll
1.3-ayat perintah คือประโยคที่ใช้สั่งให้กระทำอะไรสักอย่างซึ่งลักษณะการสั่งนั้นสามารถแบ่งได้เป็น 4 ลักษณะ คือ
1-ayat suruhan; ใช้เพือสั่งให้ทำณ.ตอนนั้นเลย ส่วนใหญ่จะใช้LAH ตามหลังคำกิริยาเพือ ให้คำสั่งนั้นดูนุ่มนวมเช่น Bukalah pintu itu, makanlah ubat ini dahulu
*kata kerja ที่สามารถทำ ayat suruhan ได้คือ kata kerja transitif และ kata kerja x transitif แต่
kk t ต้องตัดimbuhan ออก เช่น จาก kamu membaca buku itu เป็น baca/lah buku itu
kt tt เช่น kamu pergi ke bilik itu เป็น pergi ke bilik itu .
kk tt บางคำยกเว้นหากไม่มี imbuhan ไม่ได้เช่น
menangislah sepuas-puas hati
menjeritlah sedayamu
menarilah bersama-sama
menyanyilah lagu ini
berdermalah kepada anak yatim
berangkatlah dengan segera
2- ayat larangan สังห้าม จะใช้ jangan อยู่หน้าคำกิริยาเช่น
jangan curi harta orang
jangan biar mereka pukul
3- ayat silaan ปรโยคใช้เชิญ จะใช้ sila, jemput,ayuh,jom dll
เช่น sila masuk , jemput singah di rumah saya
*ข้อแตกต่าง jemput(อาจกระทำในภายหลังจากเชิญ)sila(ทำตอนนั้นเลย)
4- ayat permintaan ประโยคข้อร้อง จะใช้คำ minta, tolong อยู่หน้าคำกิริยาเช่น
tolong tutup pintu depan itu
minta tuan benarka kami masuk
ข้อแตกต่างการใช้ให้ถูกต้อง tolong(หลังคำจะต่อด้วยkkเลย)
minta(จะต่อด้วยคำนามก่อน) ดั่งตัวอย่างขั้นต้น
1.4-ayat seruan คือประโคยกล่าวแทนความรู้สึก กลัว โกรด เจ็บ ตกใจ อืนๆ kata seruan มีดั่งนี้
aduh เจ็บและแปลกใจ
cih/cis เยาะเยือย ไม่ชอบ โกรด
eh แปลกใจ ตกใจ
hai ดึงความสนใจ ตักเตือนใครสังคน
nah ดึงความสนใจ ให้บางสิ่งกับบางคน เดอๆๆๆ
oh แปลกใจ หนอยใจ
wah ประทับใจ
amboi แปลกใจ ประทับใจ
ah ไม่พอใจ ปฏิเสท
wahai เสียใจ ดึงความสนใจ
2-แบ่งตามลักษณะโครงสร้างการประกอบประโยค(susunan)
2.1- ayat aktif คือประโยคทั่วไปที่มีโครงสร้างปกติ S+P+O (เน้นประธาน)
saya membeli ikansaya pergi ke bangkok
2.2- ayat pasif คือประโยคที่ต้องการเน้นกรรมเป็นหลัก ซึ่งมี 2ลักษณะ
2.2.1- pasif semu ใช้กับสรรพนามบุรุษที 1,2 ex; ikan itu saya/awak beli
2.2.2- pasif jati ใช้กับสรรพนามบุรุษที 3 ex ikan itu dibeli olehnya
susunannya :
pasif semu ; ob+ganti diri 1,2 + kkt
pasif jati ; ob+di(kkt)+ oleh(ganti diri 3)
*ayat pasif จะใช้กับ kata kerja transitif เท่านั้น เพราะเป็นกิริยาที่มีกรรม
3- แบ่งตามลักษณะการสร้างประโยค(binaan)
3.1- ayat tunggal คือประโยคที่มี 1 S 1 P เช่น saya sedang belajar โครงสร้างประโยคนี้แบ่งออก เป็น 2 รูปแบบคือ
1.3.1 susunan biasa(s+p) ex ; dia sedang belajar
1.3.2 susunan songsang (p+s) ex; sedang belajar dia ! (บงบอกว่างงกับเหตุการณ์)
3.2 - ayat majmuk คือประโยคทีมีประธานหรือส่วนขยาย 2 ขึ้นไป(ประโยคที่มีสองประโยคใน ประโยคเดียว)เช่น
ex: Ali dan Romli sedang membaca
-Ali sedang membaca buku
-Romli sedang membaca buku
ayat majmuk แบ่งลักษณะเป็น 3 ลักษณะดั่งนี้
3.2.1- ayat majmuk gabungan คำเชือมได้แก่ dan, atau,tetapi, serta, lalu,sambil dll
ex ; adik saya sedang menyanyi dan menari
3.2.2 - ayat majmuk pancangan คำเชือมได้แก่ yang, bahawa dll
ex ; pemuda yang tampan itu anak Romli
3.2.3- ayat majmuk campuran เป็นการผสมผสานคำเชือมของ gabungan dan pancangan
ex ; budak itu masih berdiri di situ walaupun telah lama dimarahi dan
dipukul oleh ibunya
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น